top of page
Search

หน้าที่ของแพทยสภา

  • Writer: Thai Medical Law Office
    Thai Medical Law Office
  • Aug 21, 2018
  • 1 min read

หลายครั้งที่สังคมมักจะนึกถึงแพทยสภาเป็นอันดับแรกเมื่อเกิดมีกรณีพิพาทอันเกี่ยวกับแพทย์หรือวงการแพทย์ ประกอบกับชุดความคิดที่ว่า แพทยสภามีหน้าที่ต้องดูแลและจัดการกรณีพิพาททางการแพทย์

อย่างไรก็ตาม หากจะพิจารณาถึงหน้าที่ของแพทยสภาอย่างแท้จริง จะต้องพิจารณาตามความแห่ง มาตรา 8 พระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525

มาตรา 8 แพทยสภามีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (1) รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม (2) พักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม (3) รับรองปริญญา ประกาศนียบัตรในวิชาแพทยศาสตร์ หรือวุฒิบัตรในวิชาชีพเวชกรรมของสถาบันต่าง ๆ (4) รับรองหลักสูตรต่าง ๆ สำหรับการฝึกอบรมในวิชาชีพเวชกรรมของสถาบันทางการแพทย์ (5) รับรองวิทยฐานะของสถาบันทางการแพทย์ที่ทำการฝึกอบรมใน (4) (6) ออกหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาต่าง ๆ และออกหนังสือแสดงวุฒิอื่น ๆ ในวิชาชีพเวชกรรม


นเช่นนี้ นอกเหนือจากกรณีที่กล่าวมาข้างต้น ล้วนมิใช่หน้าที่ของแพทยสภาตามกฎหมายทั้งสิ้น

 
 
 

Recent Posts

See All
ประเด็นพิพาทจาก "ใบรับรองแพทย์"

ว่าด้วยเรื่อง "ใบรับรองแพทย์" ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา เราได้มีโอกาสเป็นที่ปรึกษากฎหมายในกรณีพิพาทอันเกี่ยวกับชีวิตและร่างกายอยู่กรณีหนึ่ง...

 
 
 
“สินสอด” (คุณหมอ)

พ่อแม่ฝ่ายหญิงที่รับสินสอดนั้น ควร/ต้อง คืนสินสอดกลับให้แก่คู่บ่าวสาวเพื่อตั้งต้นชีวิตใหม่หรือไม่? เมื่อพิจารณาตาม มาตรา 1437 วรรคสาม...

 
 
 

コメント


Follow

Contact

Call 02-686-3411

Fax 02-686-3433

Address

1 เอ็มไพร์ ทาวเวอร์ ตึก B ชั้น 47 ห้อง 4703 ถ.สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120

©2024 by Thai Medical Law Office.

bottom of page